วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้ข้อคิดการใช้ชีวิตเมื่อเรียนจบสูง ๆ และจบมาแล้ว ทำงานได้ไม่รงสาย กับบทความ เรียนจบสูง แต่ทำงานเลี้ยงตัวเองไม่ได้ ก็เปล่าประโยชน์ ไปดูกันว่าแม้จะจบสูงแต่ทำงานเลี้ยงตัวเองไม่ได้ ทำไมถึงเปล่าประโยชน์
‘จะเรียนไปทำไม ถ้าสุดท้ายก็ได้งานที่ไม่ตรงสายงาน ที่น้อยคนจะรู้จักเงิ นเดือน ที่ไม่ได้มากมายอะไร’คำถามนี้จะได้คำตอบที่ ทำให้กลุ้มใจมากเลย เพราะมันเต็มไปด้วยความคาดหวัง ที่คิดว่า’เรามีทางเลือ กอยู่ไม่กี่อย่ างในชีวิต’ แต่ถ้าลองเปลี่ยนเป็นความคิด ‘ฉันทำงานอะไรก็ได้ ไม่ว่าจะตรงสายหรือไม่ก็ต าม’ มันอาจเป็นประโยคคนแพ้ในสายต าบางคน แต่ถ้าคิดดูแล้ว มันได้ความสบายใจเยอะ กว่าการตั้งคำถามแบบแรก เพราะความเป็นจริงของชีวิตคือ
1 มนุษย์เราควรมีทางเลือ กให้กับชีวิตไว้หล า ยด้านหรือ’มีแผนสำรอง’
เพื่อไม่เป็นการปิดกั้นตัวเองจนเกินไป เช่น ถ้าวุฒิที่เราเรียน มา มันหางานย าก จะยอมรึเปล่า ที่เอาวุฒิต่ำกว่านี้หางานไปก่อน ถ้าเราไม่ได้อาชีพนี้ รายอมได้รึเปล่า ที่จะทำอาชีพอื่น ไปพลางๆก่อน ความฝันสิ่งที่ใช่มันไม่ควรเป็นสิ่งที่ได้ดั่งใจในทันที
2 มนุษย์ทุกคนมีความสามารถในตัวเอง
‘แตกต่าง’กันไป เราไม่จำเป็นต้องเก่งเหมือนกันหมด
3 แม้แต่ในคนคนเดียวยังมีความสามารถที่หลากหล า ย
เช่นเป็นหมอ แต่ก็เล่นดนตรีเก่ง ทำอาหารเก่ง เป็นศิลปิน แต่ก็คำนวณเก่ง ขับรถเก่งในครั้งหนึ่ง ที่เราไม่เห็นประโยชน์ ว่าจะใช้อะไรได้จริง พอโตขึ้นอีกหน่อย มันก็ต้องมีบ้างที่เรานึกอะไรขึ้น มา จนต้องไปหาอ่า นปัดฝุ่นตำราอีกครั้ง ทุกความรู้ที่เราได้รับ ไม่เคยสูญเปล่าแค่เรามองไม่เห็นค่ามันเองลองนึกดูให้ดีสิ
4 สิ่งที่เราเรียน มาเป็นสิบเป็นร้อย
มันคือ’การหล่อหลอม’หล า ยวิช า ไม่ได้สอนเราทางตรง แต่ให้เราค่อยๆ ซึมซับข้อดี แต่ละอย่ างไปเองเช่นฝึกความอ ดทน ฝึกความประณีต ฝึกทักษะการเข้าสังคม
5 สิ่งที่เรา’เก่ง’ไม่จำเป็นต้องออ กมาในรูปแบบวิช าชีพ
เช่นหมอวิศวกร พย าบาล มันอาจเป็นพรสวรรค์ก็ได้ เป็นความรู้ อะไรก็ได้ที่เราเอาจริงกับมันเช่น การทำอาหารการจัดสวน การออ กแบบ ไม่อย่ างงั้นเราคงไม่เห็นนักธุรกิจหน้าใหม่ หล า ยคนผุดขึ้นเป็นดอ กเห็ดหรอ ก
6 มันเป็นเรื่องธรรมดาที่มนุษย์เรา
จะต้องวิ่งต ามหาสิ่งที่’ใช่’ ค่อยๆเรียนรู้ค่อยๆปรับตัวไป สิ่งที่เรากำลังสนุก ในตอนนี้บางทีอาจจะยังไม่ใช่ที่สุด สิ่งที่เราเก่งในตอนนี้ ในวันข้างหน้ามันอาจ เป็นเพียงแค่ความทรงจำเพราะอาจมีหล า ยปัจจัยให้คิดมากขึ้นเช่น จำเป็นต้องพับโครงการ เรียนต่อเอาไว้ เพราะเงิ นไม่พอ จำเป็นต้องทำงานหาเงิ นก่อนแล้ว ค่อยไปเรียนศิลปะที่เราชอบ เราต้องดูจังหวะของชีวิตด้วย ( ความจำเป็นของชีวิตแต่ละช่วง )
7 ในรั้วโรงเรียน
ต่อให้เราได้เรียนกับอาจารย์ที่เก่งแค่ไหน ขอบเขตความรู้ มันก็เป็นเพียงความรู้ในรั้วเท่านั้น โลกของวัยผู้ใหญ่ที่โตขึ้น เรายังต้องรู้เห็นอีกมาก เรียนรู้กันอีกย าว ลองผิดลองถูกกันอีกเยอะ ดังนั้นจะมาฟั นธงว่าเรียน มาสายวิทย์ ต้องทำงานสายวิทย์ เรียนสายภาษา ต้องทำงานสายภาษา มันก็ไม่ถูกเสมอไป มันเป็นเรื่องธรรมดามากที่ต้องแลกกับความเหนื่อย ความพย าย ามหล า ยเท่าตัว
จึงไม่ใช่เรื่องแปลก หากจะพบว่า หมอบางคนแต่งเพลงได้ บางคนเรียนวิช าชีพ แต่มาเป็นศิลปิน บางคนเรียนไม่จบแต่ประสบความสำเร็จ ถ้ายังไม่เข้าใจในข้อนี้ ลองย้อนกลับไปอ่า นข้อ 6 อีกรอบ ขึ้นชื่อว่า’ความรู้’เราได้รับมาถึงจะไม่ได้ใช้ในทันที ก็ไม่ควรเสียดายขึ้นชื่อว่า’ความฝัน’ ถึงจะยังไม่ใช่ในวันนี้ ใช่ว่าวันหน้าจะเป็นไปไม่ได้ มันอยู่ที่เราล้วนๆว่า
‘รู้ตัวดีหรือไม่ว่าทำอะไรอยู่’ และ’พร้อมจะยืดหยุ่นกับทุก สถานการณ์ชีวิตรึเปล่า’ อย่ าลืมว่าโลกเรากลม และมีหล า ยมิติ ใช่ว่าจะต้องมองเพียงด้านเดียว
ที่มา stand-smiling